[IoT101-for senior high school] Internet of Things สำหรับนักเรียน (ชั้น ม. ปลาย)

COURSE DESCRIPTION
Internet of Things หรือ IoT เข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตของผู้คนบนโลกมากขึ้น อุปกรณ์หลายอย่างที่เราใช้งานปัจจุบัน ใช้เทคโนโลยีนี้ โดยที่เราอาจจะไม่รู้ตัว
IoT แทรกซึมเข้าสู่ทุกภาคส่วน อย่างเช่น การจัดการเมือง ภาคอุตสหกรรม ภาคเกษตรกรรม โรงเรียน โรงพยาบาล หรือแม้แต่ในบ้านที่เราพักอาศัยอยู่ ก็อาจมีเทคโนโลยีนี้ทำงานอยู่เบื้องหลัง
IoT 101 เป็นหลักสูตรเริ่มต้น เหมาะสำหรับท่านที่ไม่มีพื้นฐานด้านสมองกล หรือไม่มีพื้นฐานด้านอิเล็คทรอนิค ใดๆมาก่อน เราออกแบบเนื้อหา ปูทางตั้งแต่พื้นฐานง่ายๆ ไล่เรียงไปจนสามารถเข้าใจระบบสมองกล มองเห็นภาพการเขียนโปรแกรมสั่งงานฮาร์ดแวร์ เซนเซอร์ต่างๆ และการส่งข้อมูลในงาน IoT พร้อมเทคนิคที่จำเป็นสำหรับการนำไปสร้างสรรเป็นโครงงาน หรือทำสิ่งประดิษฐ์ไว้ใช้งานเองที่บ้าน เช่น สั่งงาน เปิด ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านผ่านสมาร์ทโฟน ทำระบบ smart farm รดน้ำอัตโนมัตในสวน หรือหุ่นยนต์ขนาดเล็ก เป็นต้น
ระยะเวลาอบรม: 2 วัน
จำนวนชั่วโมง: 12 ชั่วโมง (9 :00 น. – 16:00 น.)
คุณสมบัติผู้สมัคร:
- ไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานด้านอิเล็กทรอนิคส์ หรือเขียนโปรแกรมมาก่อน
- ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตพื้นฐานเป็น มีอีเมล์
สิ่งที่ต้องเตรียมมาเอง:
- คอมพิวเตอร์ Laptop (Mac, Linux, Windows ตั้งแต่ win7)
- สมาร์ทโฟน
- สาย Micro USB
ตารางกิจกรรม:
วันที่ 1
09.00 น. – 10.00 น.
-
- What is IoT : IoT คืออะไร และทำไมจึงสำคัญ
- Impact : ผลกระทบของ IoT ทั้งด้านเทคนิคและเศรษฐกิจ
- Making things connect : การทำให้สิ่งของเชื่อมต่อ Internet
10.00 น. – 10.15 น. พักเบรก
10.15 น. – 12.00 น.
-
- ESP8266 & Arduino : เรียนรู้ Micro-controller, โครงสร้างด้าน hardware และรูปแบบการเขียนโปรแกรมฝังใน chip ระบบสมองกลฝังตัว
- Set up environment : ติดตั้ง software, driver, library ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนา
- Basic of Electronic : ความรู้พื้นฐานด้านไฟฟ้า
- IoT Learning Kit : แนะนำอุปกรณ์
- ทดลองการเขียนโปรแกรมฝังลงในระบบสมองกล สั่งให้ไฟกระพริบ
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 15.00 น.
-
- Digital vs Analog output via LED
- For loop
- Serial Monitor
- Potentiometer รับ Input แบบ Analog
- Analog input, Map() function
- 15.00 น. – 15.15 น. พักเบรก
15.15 น. – 16.00 น.- If-Else condition
- Buzzer สร้าง output แบบเสียง
- OLED screen เรียนรู้การใช้งานจอแสดงผลขนาดเล็ก
- Library installation
- Text display
- Graphic drawing
วันที่ 2
09.00 น. – 10.00 น. Lab Sensors
-
-
- Temperature & Humidity เรียนรู้การใช้งานเซนเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้นอากาศ
-
10.00 น. – 10.15 น. พักเบรก
10.15 น. – 12.00 น. Lab IoT
-
-
- MQTT protocol & server เรียนรู้ protocol สื่อสารสำหรับ IoT
- Control Device by Mobile ลองควบคุมอุปกรณ์ผ่านมือถือ
- Sensor data go to Internet
-
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 16.00 น. Lab IoT :
-
-
- รับ ส่งข้อมูลจากเซนเซอร์ขึ้นสู่ Internet server ในแบบต่างๆ
-
***** กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ********
DEVICES:
บอร์ดทดลอง และเนื้อหา ออกแบบโดยวิศวกรคอมพิวเตอร์ เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้น เป็นบอร์ดที่ไม่มีความซับซ้อน เน้นที่ความเรียบง่ายต่อการเรียนรู้และเข้ากับเนื้อหาที่เรียบเรียงไว้ โดยคำนึงถึงผู้ที่ไม่มีพื้นฐานมาก่อน ให้ยังสามารถเรียนรู้ได้ง่าย ซึ่ง บอร์ด IoT Learning 101 มีอุปกรณ์อิเล็คทรินิคส์ที่เป็นพื้นฐาน สำหรับเรียนรู้กระบวนการเชิงระบบ (Input-Process-Output) ทั้งแบบดิจิทัล และ แอนะล็อก
Course Features
- Lectures 25
- Quizzes 0
- Duration 12 hours
- Skill level All levels
- Language Thai
- Students 500
- Assessments Yes
-
ระบบสมองกลคืออะไร
-
การออกแบบเชิงระบบ Input-Process-Output
-
Arduino platform
-
Workshop สมองกล
-
Internet of Things (IoT)
-
Workshop IoT
-
LAB Code
- MCU Lab: Welcome to hardware programming. Copy Copy
- MCU Lab: Serial communication Copy Copy
- MCU Lab: Digital vs Analog Copy Copy
- MCU Lab: If-else Condition Copy Copy
- MCU Lab: Pulse Width Modulation (PWM) Copy Copy
- IoT Lab: Welcome to wifi chip. Copy Copy
- IoT Lab: On board device (LED, Buzzer, Button, Potentiometer ) Copy Copy
- IoT Lab: On board device (OLED screen) Copy Copy
- IoT Lab: MQTT protocol (Mosquitto) Copy Copy
- IoT Lab: MQTT cloud (Blynk) Copy Copy
- IoT Lab: Virtual pin Copy Copy
- IoT Lab: Home automation using Relay Copy Copy
- IoT Lab: Temperature sensor Copy Copy
- IoT Lab: Wifi chip AP mode Copy Copy